เข้าใจแล้วว่าทำไมท่านคึกฤทธิ์จึงจ้องทำลายเปรียญธรรมและระบบการเรียนบาลี
เพราะถ้าท่านคึกฤทธิ์ไม่ทำลาย ตัวเองจะมั่วได้ไม่ถนัด
สำนักบาลีโคกนี่ตั้งแต่อาจารย์ยันศิษย์เอก
เคยมีศิษย์เอกคึกฤทธิ์คนหนึ่ง ใช้ชื่อว่า "ครูโจ" โต้แย้งข้าพเจ้าด้วยคำว่า
ปชานาติ ซึ่งแปลว่า "รู้ชัด, รู้ถ้วนทั่ว" เขาแย้งว่า แปลได้เหมือนกันกับคำว่า "เห็น" ทั้งๆ ที่ รู้ กับ เห็น คนละศัพท์
คนละความหมาย
ครูโจ ยกตัวอย่างมาว่าตอบอย่างละเอียด
(แต่ความจริงไม่ละเอียดเพราะไม่สามารถอธิบายถึงความแตกต่างในการใช้แต่ละศัพท์ได้)
คำตอบ อย่างละเอียดครับ
1. อันดับแรกดูที่ Capture น่ะครับ ว่าคำว่า เห็นชัด คุณนัท อ้างอิงจากอันนี้ใช่ไหม ? (ถ้า ใช่)
• ".. เห็นชัด.."
บาลีใช้คำอะไรได้บ้าง จากพระสูตร (เล่ม 19/ข้อ 1420-22), (เล่ม 19/ข้อ1625-26), (เล่ม 21/ข้อ97), (เล่ม 24/ข้อ23), (เล่ม 24/ข้อ93) (เล่ม 14/ข้อ369) พุทธวจน โสดาบัน ข้อ 14 หน้า 39-48 ( เล่ม 16/ข้อ88-90) และ ข้อ 15 หน้า 49-62 (เล่ม 16/ข้อ91-93) ล้วนมีคำเหล่านนี้ทั้งสิ้น
•• ปสฺสติ
• สนฺทิสฺสติ
• สนฺทิสฺสามิ
• ทิสฺวา
• ทิสฺสติ
••••••••••••••••••••••
1. อันดับแรกดูที่ Capture น่ะครับ ว่าคำว่า เห็นชัด คุณนัท อ้างอิงจากอันนี้ใช่ไหม ? (ถ้า ใช่)
• ".. เห็นชัด.."
บาลีใช้คำอะไรได้บ้าง จากพระสูตร (เล่ม 19/ข้อ 1420-22), (เล่ม 19/ข้อ1625-26), (เล่ม 21/ข้อ97), (เล่ม 24/ข้อ23), (เล่ม 24/ข้อ93) (เล่ม 14/ข้อ369) พุทธวจน โสดาบัน ข้อ 14 หน้า 39-48 ( เล่ม 16/ข้อ88-90) และ ข้อ 15 หน้า 49-62 (เล่ม 16/ข้อ91-93) ล้วนมีคำเหล่านนี้ทั้งสิ้น
•• ปสฺสติ
• สนฺทิสฺสติ
• สนฺทิสฺสามิ
• ทิสฺวา
• ทิสฺสติ
••••••••••••••••••••••
ข้าพเจ้าพูดตรงๆ น้ำหน้ายังลัทธิบาลีโคก
ไม่สามารถอธิบายได้ว่า แต่ละคำต่างกันอย่างไร ทำไมบางบทใช้ ปสฺสติ บางบทใช้
ทิสฺสติ ใช้ ทิสฺวา แต่ละคำต่างกันอย่างไร
ไม่มีทาง
!!!!!
ภาษาบาลีจึงเป็นปมด้อยที่สุดของสำนักนี้
แต่ยังพยายามตะเกียกตะกาย ตะบี้ตะบัน ถ้ายืมคำลุงหมักก็ต้องว่า
"กระเหี้ยนกระหือรือ" โชว์ภูมิที่ไม่มีในตนเอง
เพราะท่านคึกฤทธิ์และสาวกดูถูกวิชาบาลีว่าเรียนผิด
ไม่เรียนพุทธวจนะ เรียน อิ อัง อิ อัง คึกฤทธิ์และสาวกจึงทำได้แค่
"บาลีเทียบ" แห่งสำนักโคกอีแร้ง สาขาคลองสิบ
ไม่สามารถตอบได้ว่าแต่ละอักขระต่างกันอย่างไร
ตบตาคนไม่รู้ได้ แต่ตบตาคนรู้ไม่ได้
ความจริงคือความจริงเสมอ
ท่านคึกฤทธิ์ยังกล้าพูดว่า ไม่มีใครรู้จัก
เนตํ มม (เน ตัง มะ มะ) ไม่ใช่ของเรา โถ เขาเรียน มม ตั้งแต่บาลีต้นๆ ประโยค ๑
แล้ว ท่านไปมัวเรียนบาลีโคกสำนักไหนมาหนอ
ครูโจ
นำข้อความที่ข้าพเจ้าสงสัยในเรื่องการที่พระคึกฤทธิ์เขียนหนังสือแล้วจั่วหัวพระสูตรว่า พระโสดาบัน เห็นชัด.... (เทียบบาลีในข้อ ๙๑
เพราะเป็นพระสูตรเดียวกัน)
โดยยกพระสูตรอื่น พร้อมอ้างคำแปลท่านพุทธทาส (สาวกหรือไม่) รวมถึงสาวกภาษิต (พระสารีบุตรภาษิต) มาตอบ ทั้งๆ ที่ข้าพเจ้าเทียบเคียงจากโปรแกรมที่วัดนาป่าพงทำทั้งนั้น และนี่ก็คือพระสูตรที่ท่านคึกฤทธิ์อ้างในหนังสือเรื่อง "โสดาบัน" ในพระบาลีใช้คำว่า ปชานาติ แปลว่า ย่อมรู้ทั่วถึง
แต่เขาบอกว่า เขาสามารถใช้คำว่าเห็นชัดได้ เพราะมีที่อ้างอิงได้ดังนี้ สิ่งที่ข้าพเจ้าสงสัยคือ ทำไมไม่ยกสูตรเดียวกันมาเทียบบาลีเล่า และจะอธิบายเรื่องการยึดคำสาวกอย่างท่านพุทธทาสและพระสารีบุตรว่าอย่างไร ?
ในพระสูตรนี้ใช้คำว่า ปชานาติ ทั้งหมด ไม่มีคำว่า ปสฺสติ หรือคำที่ครูโจกล่าวมาเลยแม้แต่คำเดียว แล้วครูโจไปเอา ปสฺสติ มาโยง เพื่ออะไร ความหมายมันคนละความหมาย แปลก็ไม่เหมือนกัน ท่านใดสงสัย ไปถามที่สมาคมเปรียญ หรือสำนักเรียนบาลีได้ทุกที่
ครูโจ ยอมรับชัดว่า ปชานาติ แปลว่า ย่อมรู้ทั่วถึง แล้วทำไมจึงแปลเป็นเห็นชัดเล่า สะดุดขาตัวเองอย่างจัง เพราะไม่รู้ความแตกต่างของ "ญา ธาตุ" เป็นไปในความรู้ อาเทศ ญา เป็น ชา ด้วยอำนาจแห่ง นา ปัจจัย และ "ทิส ธาตุ" เป็นไปในความเห็น แปลง ทิส เป็น ปสฺส เมื่อลงแจกใน วตฺตมานาวิภัตติ ถ้าท่านแถหลักสูตรไวยากรณ์บาลี ท่านจะเป็นที่ขบขันต่อนักบาลีทั้งโลก เพราะทั้งโลก เขาเข้าใจตรงกันหมด พระไตรปิฎกแต่ละประเทศที่แปลจากภาษาบาลีจึงมีความหมายที่ไม่ต่างกัน
คำยอมรับของคุณโจ••••••••••••••••••••••
• "รู้ทั่วถึง"
• ย่อมรู้ทั่วถึง
บาลีใช้คำอะไรได้บ้าง ( : ปฏิจจสมุปบาท จากพระโอษฐ์ หน้า 84-92 :
พุทธวจน โสดาบัน ข้อ 14 หน้า 39-48 ( เล่ม 16/ข้อ88-90)
และ ข้อ 15 หน้า 49-62 (เล่ม 16/ข้อ91-93)
• ปชานาติ
• ปชานนา
••••••••••••••••••••••
ฝากครูโจไปศึกษา ปชานาติ กับ ปสฺสติ ต่างกันอย่างไร และถ้าไม่ต่าง ทำไมในพระสูตรที่อ้างจึงใช้ ปชานาติ ไม่ใช้ ปสฺสติ เล่า และทำไมครูโจ จึงไม่ยกพระสูตรที่อ้างตรงๆ เล่า ในเมื่อทรงแสดงชัดแล้ว จะแถไปพระสูตรอื่น เพื่ออะไร
•••••••••••••••••••••
คำตอบ อย่างย่อ ๆๆครับ ว่า คุณนัท อ่านไม่ละเอียด
โดยยกพระสูตรอื่น พร้อมอ้างคำแปลท่านพุทธทาส (สาวกหรือไม่) รวมถึงสาวกภาษิต (พระสารีบุตรภาษิต) มาตอบ ทั้งๆ ที่ข้าพเจ้าเทียบเคียงจากโปรแกรมที่วัดนาป่าพงทำทั้งนั้น และนี่ก็คือพระสูตรที่ท่านคึกฤทธิ์อ้างในหนังสือเรื่อง "โสดาบัน" ในพระบาลีใช้คำว่า ปชานาติ แปลว่า ย่อมรู้ทั่วถึง
แต่เขาบอกว่า เขาสามารถใช้คำว่าเห็นชัดได้ เพราะมีที่อ้างอิงได้ดังนี้ สิ่งที่ข้าพเจ้าสงสัยคือ ทำไมไม่ยกสูตรเดียวกันมาเทียบบาลีเล่า และจะอธิบายเรื่องการยึดคำสาวกอย่างท่านพุทธทาสและพระสารีบุตรว่าอย่างไร ?
ในพระสูตรนี้ใช้คำว่า ปชานาติ ทั้งหมด ไม่มีคำว่า ปสฺสติ หรือคำที่ครูโจกล่าวมาเลยแม้แต่คำเดียว แล้วครูโจไปเอา ปสฺสติ มาโยง เพื่ออะไร ความหมายมันคนละความหมาย แปลก็ไม่เหมือนกัน ท่านใดสงสัย ไปถามที่สมาคมเปรียญ หรือสำนักเรียนบาลีได้ทุกที่
ครูโจ ยอมรับชัดว่า ปชานาติ แปลว่า ย่อมรู้ทั่วถึง แล้วทำไมจึงแปลเป็นเห็นชัดเล่า สะดุดขาตัวเองอย่างจัง เพราะไม่รู้ความแตกต่างของ "ญา ธาตุ" เป็นไปในความรู้ อาเทศ ญา เป็น ชา ด้วยอำนาจแห่ง นา ปัจจัย และ "ทิส ธาตุ" เป็นไปในความเห็น แปลง ทิส เป็น ปสฺส เมื่อลงแจกใน วตฺตมานาวิภัตติ ถ้าท่านแถหลักสูตรไวยากรณ์บาลี ท่านจะเป็นที่ขบขันต่อนักบาลีทั้งโลก เพราะทั้งโลก เขาเข้าใจตรงกันหมด พระไตรปิฎกแต่ละประเทศที่แปลจากภาษาบาลีจึงมีความหมายที่ไม่ต่างกัน
คำยอมรับของคุณโจ••••••••••••••••••••••
• "รู้ทั่วถึง"
• ย่อมรู้ทั่วถึง
บาลีใช้คำอะไรได้บ้าง ( : ปฏิจจสมุปบาท จากพระโอษฐ์ หน้า 84-92 :
พุทธวจน โสดาบัน ข้อ 14 หน้า 39-48 ( เล่ม 16/ข้อ88-90)
และ ข้อ 15 หน้า 49-62 (เล่ม 16/ข้อ91-93)
• ปชานาติ
• ปชานนา
••••••••••••••••••••••
ฝากครูโจไปศึกษา ปชานาติ กับ ปสฺสติ ต่างกันอย่างไร และถ้าไม่ต่าง ทำไมในพระสูตรที่อ้างจึงใช้ ปชานาติ ไม่ใช้ ปสฺสติ เล่า และทำไมครูโจ จึงไม่ยกพระสูตรที่อ้างตรงๆ เล่า ในเมื่อทรงแสดงชัดแล้ว จะแถไปพระสูตรอื่น เพื่ออะไร
•••••••••••••••••••••
คำตอบ อย่างย่อ ๆๆครับ ว่า คุณนัท อ่านไม่ละเอียด
ช่างกล้ามากที่บอกว่าดิฉันอ่านไม่ละเอียด ทั้งๆ ที่คุณหาความรู้บาลีไม่ได้เลยแม้กระผีกเดียว
คำว่า.. เห็น, เห็นชัด อ้างอิงจาก
"..๑๔
พระโสดาบัน คือ ผู้ *เห็นชัดรายละเอียดแต่ละสายของปฏิจจสมุปบาทตลอดทั้งสาย โดยนัยแห่งอริยสัจสี่(*เห็นตลอดสาย นัยที่หนึ่ง)
"..๑๕ พระโสดาบัน คือ ผู้ *เห็นชัดรายละเอียด แต่ละสายของปฏิจจสมุปบาทตลอดทั้งสาย โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ (*เห็นตลอดสาย นัยที่สอง)
1. "เห็นชัด" ใช้คำนี้ได้เพราะหัวข้อ และพระสูตรตอนท้ายตรัสสอดรับเชื่อมโยงกันถึงเรื่อง
....
"ผู้ได้ *เห็นอยู่ซึ่งพระสัทธรรมนี้" ดังนี้บ้าง
...
( บาลี : •• ปสฺสติ )
..
พุทธวจน โสดาบัน ข้อ 14 หน้า 39-48 ( เล่ม 16/ข้อ88-90)
และ ข้อ 15 หน้า 49-62 (เล่ม 16/ข้อ91-93)
•••••••••••••••••••
2. ● พระองค์เอง โดยตรัสว่า “ผู้ใด *เห็นปฏิจจสมุปบาท ผู้นั้น *เห็นธรรม : ผู้ใด *เห็นธรรม
ผู้นั้น *เห็นปฏิจจสมุปบาท”
(มหาหัตถิปโทปมสูตร ๑๒/๓๕๙/๓๔๖) ซึ่งเทียบกันได้กับพุทธภาษิต
● ในขันธวารวรรค สังยุตตนิกาย ว่า “ผู้ใด *เห็นธรรม ผู้นั้นเห็นตถาคต : ผุ้ใดเห็นตถาคต
ผู้นั้นเห็นธรรม”
..
พ. อย่าเลย วักกลิ ร่างกายอันเปื่อยเน่าที่เธอเห็นนี้ จะมีประโยชน์อะไร? ดูกรวักกลิ
ผู้ใดแล เห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าย่อมเห็นเรา ผู้ใดเห็นเรา ผู้นั้นชื่อว่าย่อมเห็นธรรม. วักกลิ
เป็นความจริง บุคคลเห็นธรรม ก็ย่อมเห็นเรา บุคคลเห็นเราก็ย่อมเห็นธรรม. วักกลิ เธอจะ
สำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ว. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.
...
(บาลี : โย โข วกฺกลิ ธมฺมํ
••• ปสฺสติ โส มํ ปสฺสติ โย มํ ปสฺสติ
โส ธมฺมํ ปสฺสติ ฯ ธมฺมํ หิ วกฺกลิ ปสฺสนฺโต มํ ปสฺสติ มํ
ปสฺสนฺโต ธมฺมํ ปสฺสติ ฯ ตํ กึ มญฺญสิ วกฺกลิ ฯ รูปํ นิจฺจํ
วา อนิจฺจํ วาติ ฯ
อนิจฺจํ ภนฺเต ฯ
๕. วักกลิสูตร บาลีสยามรัฐเล่ม (๑๗/๑๔๗/๒๑๖)
( ๕. วักกลิสูตร ๑๗/๑๔๗/๒๑๖)
ปฏิจจสมุบาท จากพระโอษฐ์ หน้า 13, 811.
••••••••••••••••••••••
3. และ อีกทั้ง ท่านอาจารย์ท่านพุทธทาส ก็มีการใช้ หัวเรื่องว่า "เห็น..." เช่นเดียวกัน เพื่อให้ทราบว่า ...
การ *เห็นปฏิจจสมุปบาท ชื่อว่าการ *เห็นธรรม๑
ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย !... ก็แล คำ นี้ เป็นคำ ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้แล้วว่า
“ผู้ใด *เห็นปฏิจจสมุปบาท, ผู้นั้นชื่อว่า *เห็นธรรม; ผู้ใด *เห็นธรรม, ผู้นั้นชื่อว่า
*เห็นปฏิจจสมุปบาท”, ดังนี้.
....
(บาลี : วุตฺตํ โข
ปเนตํ ภควตา โย ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ
••• ปสฺสติ โส ธมฺมํ ปสฺสติ โย
ธมฺมํ ปสฺสติ โส ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ ปสฺสตีติ ฯ )
...
(มหาหัตถิปโทปมสูตร บาลีสยามรัฐเล่ม ๑๒/๓๕๙/๓๔๖)
________________________________
๑. มหาหัตถิปโทปมสูตร มู.ม. ๑๒/๓๕๙, ๓๖๐/๓๔๖, พระสารีบุตรกล่าวแก่ภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.
ปฏิจจสมุบาท จากพระโอษฐ์ หน้า 42-43
••••••••••••••••••••••
คำตอบ อย่างละเอียดครับ
1. อันดับแรกดูที่ Capture น่ะครับ ว่าคำว่า เห็นชัด คุณนัท อ้างอิงจากอันนี้ใช่ไหม ? (ถ้า ใช่)
• ".. เห็นชัด.."
• เห็น
• ปรากฎ
• มองเห็น
บาลีใช้คำอะไรได้บ้าง จากพระสูตร (เล่ม 19/ข้อ 1420-22), (เล่ม 19/ข้อ1625-26), (เล่ม 21/ข้อ97), (เล่ม 24/ข้อ23), (เล่ม 24/ข้อ93) (เล่ม 14/ข้อ369) พุทธวจน โสดาบัน ข้อ 14 หน้า 39-48 ( เล่ม 16/ข้อ88-90) และ ข้อ 15 หน้า 49-62 (เล่ม 16/ข้อ91-93) ล้วนมีคำเหล่านนี้ทั้งสิ้น
•• ปสฺสติ
• สนฺทิสฺสติ
• สนฺทิสฺสามิ
• ทิสฺวา
• ทิสฺสติ
••••••••••••••••••••••
• "รู้ทั่วถึง"
• ย่อมรู้ทั่วถึง
บาลีใช้คำอะไรได้บ้าง ( : ปฏิจจสมุปบาท จากพระโอษฐ์ หน้า 84-92 :
พุทธวจน โสดาบัน ข้อ 14 หน้า 39-48 ( เล่ม 16/ข้อ88-90)
และ ข้อ 15 หน้า 49-62 (เล่ม 16/ข้อ91-93)
• ปชานาติ
• ปชานนา
••••••••••••••••••••••
2. ทีนี้ถ้าคำว่า "..เห็นชัด.." (ตาม Capture) ในหนังสือ พุทธวจน โสดาบัน ข้อ 14,15 หน้า 39,49 คำว่า..
"..๑๔
พระโสดาบัน คือ ผู้ *เห็นชัดรายละเอียดแต่ละสายของปฏิจจสมุปบาทตลอดทั้งสาย โดยนัยแห่งอริยสัจสี่(*เห็นตลอดสาย นัยที่หนึ่ง)
"..๑๕ พระโสดาบัน คือ ผู้ *เห็นชัดรายละเอียด แต่ละสายของปฏิจจสมุปบาทตลอดทั้งสาย โดยนัยแห่งอริยสัจสี่ (*เห็นตลอดสาย นัยที่สอง)
2.1 คำนี้จะขัดกันในพระสูตรไหม ผมตรวจดูแล้ว ไม่ขัด น่ะครับ เพราะถ้าคุณนัท อ่านจนจบตอนท้ายพระสูตรหน้า 48 และ หน้า 62 จะมีคำว่า
...
"ผู้ได้ *เห็นอยู่ซึ่งพระสัทธรรมนี้" ดังนี้บ้าง
...
( บาลี : •• ปสฺสติ )
2.2 การเห็นปฏิจจสมุปบาท ชื่อว่าการเห็นธรรม๑
ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย !... ก็แล คำ นี้ เป็นคำ ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้แล้วว่า
“ผู้ใด *เห็นปฏิจจสมุปบาท, ผู้นั้นชื่อว่า *เห็นธรรม; ผู้ใด *เห็นธรรม, ผู้นั้นชื่อว่า
*เห็นปฏิจจสมุปบาท”, ดังนี้.
ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ! ธรรมทั้งหลายเหล่านี้ ชื่อว่าปฏิจจสมุปปันนธรรม
(ธรรมอาศัยซึ่งกันและกันเกิดขึ้น); กล่าวคือ ปัญจุปาทานขันธ์ทั้งหลาย.
ธรรมใด เป็นความพอใจ (ฉนฺโท) เป็นความอาลัย (อาลโย) เป็นความ
ติดตาม (อนุนโย) เป็นความสยบมัวเมา (อชฺโฌสานํ) ในอุปาทานขันธ์ทั้งหลาย
๕ ประการ เหล่านี้, ธรรมนั้น ชื่อว่า เหตุให้เกิดขึ้นแห่งทุกข์ (ทุกฺขสมุทโย).
ธรรมใด เป็นความนำออกซึ่งฉันราคะ (ฉนฺทราควินโย) เป็นความละขาด
ซึ่งฉันทราคะ (ฉนฺทราคปฺปหานํ) ในอุปาทานขันธ์ทั้งหลาย ๕ ประการ เหล่านี้,
ธรรมนั้น ชื่อว่า ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ (ทุกฺขนิโรโธ).
ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ! ด้วยการปฏิบัติมีประมาณเพียงเท่านี้แลคำสอนของ
พระผู้มีพระภาคเจ้า ชื่อว่าเป็นสิ่งที่ภิกษุประพฤติกระทำให้มากแล้วดังนี้.
....
________________________________
๑. มหาหัตถิปโทปมสูตร มู.ม. ๑๒/๓๕๙, ๓๖๐/๓๔๖, พระสารีบุตรกล่าวแก่ภิกษุทั้งหลาย ที่เชตวัน.
ปฏิจจสมุบาท จากพระโอษฐ์ หน้า 42-43
••••••••••••••••••••••
หมายเหตุผู้รวบรวม : ผู้รักษาควรถือว่า คำกล่าวของพระสารีบุตรในลักษณะเช่นนี้
มีความหมายเท่ากับเป็นพระพุทธภาษิตที่มีอยู่ว่า “ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นตถาคต;
ผู้ใดเห็นตถาคต ผู้นั้นเห็นธรรม”; ซึ่งเป็นเครดิตแก่ปฏิจจสมุปบาท ว่าเป็นตัวธรรม
ที่มีค่าเท่ากับว่าถ้าเห็นแล้ว เป็นการเห็นตถาคต ในรูปแห่งธรรม หรือธรรมกาย นั่นเอง.
ข้อนี้แสดงว่า เรื่องปฏิจจสมุปบาท เป็นเรื่องที่ควรสนใจ กว่าเรื่องอื่น ๆ ที่เรียกว่า “ธรรม” ด้วยกัน
2.3
● พระองค์เอง โดยตรัสว่า “ผู้ใด *เห็นปฏิจจสมุปบาท ผู้นั้น *เห็นธรรม : ผู้ใด *เห็นธรรม
ผู้นั้น *เห็นปฏิจจสมุปบาท”
(มหาหัตถิปโทปมสูตร ๑๒/๓๕๙/๓๔๖) ซึ่งเทียบกันได้กับพุทธภาษิต
(บาลี : วุตฺตํ โข
ปเนตํ ภควตา โย ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ
••• ปสฺสติ โส ธมฺมํ ปสฺสติ โย
ธมฺมํ ปสฺสติ โส ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ ปสฺสตีติ ฯ )
...
(มหาหัตถิปโทปมสูตร บาลีสยามรัฐเล่ม ๑๒/๓๕๙/๓๔๖)
● ในขันธวารวรรค สังยุตตนิกาย ว่า “ผู้ใด *เห็นธรรม ผู้นั้นเห็นตถาคต : ผุ้ใดเห็นตถาคต
ผู้นั้นเห็นธรรม” (๑๗/๑๔๗/๒๑๖)
พ. อย่าเลย วักกลิ ร่างกายอันเปื่อยเน่าที่เธอเห็นนี้ จะมีประโยชน์อะไร? ดูกรวักกลิ
ผู้ใดแล เห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าย่อมเห็นเรา ผู้ใดเห็นเรา ผู้นั้นชื่อว่าย่อมเห็นธรรม. วักกลิ
เป็นความจริง บุคคลเห็นธรรม ก็ย่อมเห็นเรา บุคคลเห็นเราก็ย่อมเห็นธรรม. วักกลิ เธอจะ
สำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ว. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.
...
(บาลี : โย โข วกฺกลิ ธมฺมํ
••• ปสฺสติ โส มํ ปสฺสติ โย มํ ปสฺสติ
โส ธมฺมํ ปสฺสติ ฯ ธมฺมํ หิ วกฺกลิ ปสฺสนฺโต มํ ปสฺสติ มํ
ปสฺสนฺโต ธมฺมํ ปสฺสติ ฯ ตํ กึ มญฺญสิ วกฺกลิ ฯ รูปํ นิจฺจํ
วา อนิจฺจํ วาติ ฯ
อนิจฺจํ ภนฺเต ฯ
๕. วักกลิสูตร บาลีสยามรัฐเล่ม (๑๗/๑๔๗/๒๑๖)
อย่าเลย วักกลิ ! ประโยชน์อะไร ด้วยการเห็นกายเน่านี้. ดูก่อนวักกลิ !
ผู้ใดเห็นธรรม, ผู้นั้นเห็นเรา; ผู้ใดเห็นเรา, ผู้นั้นเห็นธรรม. ดูก่อนวักกลิ ! เพราะว่า
เมื่อเห็นธรรมอยู่ ก็คือเห็นเรา; เมื่อเห็นเราอยู่ ก็คือเห็นธรรม...…๒
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! แม้ภิกษุจับชายสังฆาฏิ เดินตามรอยเท้าเราไป
ข้างหลังๆ, แต่ถ้าเธอนั้นมากไปด้วยอภิชฌา มีกามราคะกล้า มีจิตพยาบาท
มีความดำริแห่งใจเป็นไปในทางประทุษร้าย มีสติหลงลืม ไม่มีสัมปชัญญะ
มีจิตไม่เป็นสมาธิ แกว่งไปแกว่งมา ไม่สำรวมอินทรีย์ แล้วไซร้; ภิกษุนั้น
ชื่อว่าอยู่ไกลจากเรา แม้เราก็อยู่ไกลจากภิกษุนั้น โดยแท้. เพราะเหตุไรเล่า ?
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เพราะว่าภิกษุนั้น ไม่เห็นธรรม : เมื่อไม่เห็นธรรมก็ชื่อว่า
ไม่เห็นเรา (ธมฺมํ หิ โส ภิกฺขเว ภิกฺขุ น ปสฺสติ : ธมฺมํ อปสฺสนฺโต มํ น ปสฺสติ)... [แล้วได้ตรัสไว้
โดยนัยตรงกันข้ามจากภิกษุนี้คือตรัสเป็นปฏิปักขนัย โดยนัยว่า แม้จะอยู่ห่างกันร้อยโยชน์ ถ้ามีธรรม เห็นธรรม
ก็ชื่อว่า เห็นพระองค์ (ธมฺมํ หิ โส ภิกฺขเว ภิกฺขุ ปสฺสติ: ธมฺมํ ปสฺสนฺโต มํ ปสฺสติ)].๓
...
ปฏิจจสมุบาท จากพระโอษฐ์ หน้า13, 811.
••••••••••••••••••••••
2.4 ฝากพระสูตรไว้ "ให้คิดทบทวน" ดีดี ครับ
ทรงแสดงธรรมเพราะ *เห็นความจำเป็น ของสัตว์บางพวก ๑
• ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในโลกนี้ ได้เห็นหรือไม่ได้เห็นตถาคตก็ตาม
ได้ฟังหรือไม่ได้ฟังธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศแล้วก็ตาม ก็หาเข้ามาสู่คลอง
แห่งกุศลธรรมได้ไม่.
• แต่บุคคลบางคนในโลกนี้ ได้เห็นหรือไม่ได้เห็นตถาคตก็ตาม
ได้ฟังหรือไม่ได้ฟังธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศแล้วก็ตาม ย่อมเข้ามาสู่คลอง
แห่งกุศลธรรมทั้งหลายได้โดยแท้.
• ส่วนบุคคลบางคนในโลกนี้ ต่อเมื่อได้เห็นตถาคต
หรือได้ฟังธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศแล้ว จึงเข้ามาสู่คลองแห่งกุศลธรรม
ทั้งหลายได้ ถ้าไม่ได้เห็นตถาคต หรือไม่ได้ฟังธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศแล้ว
ย่อมไม่เข้ามาสู่คลองแห่งกุศลธรรมทั้งหลายได้เลย.
ภิกษุ ท. ! ในบุคคล ๓ ประเภทนั้น มีบุคคลอยู่ประเภทหนึ่ง ซึ่ง
ต่อเมื่อได้
*เห็นตถาคตหรือได้ฟังธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศแล้ว จึงจะเข้ามาสู่คลอง
แห่งกุศลธรรมทั้งหลายได้,
ถ้าไม่ได้เห็นตถาคต หรือไม่ได้ฟังธรรมวินัยที่ตถาคต
ประกาศแล้ว ย่อมไม่เข้ามาสู่คลองแห่งกุศลธรรมทั้งหลายได้เลย.
●●● เราเพราะเห็น
แก่บุคคลประเภทนี้แหละ จึงอนุญาตให้มีการแสดงธรรม. และเพราะอาศัยบุคคล
ประเภทนี้เป็นหลักอีกเหมือนกัน จึงจำต้องแสดงธรรมแก่บุคคลประเภทอื่นด้วย.
______________________________
๑. บาลี ติก. อํ. ๒๐/๑๕๒/๔๖๑. ตรัสแก่ภิกษุทั้งหลาย.
พุทธประวัติ จากพระโอษฐ์ หน้า 224-225.
ที่ข้าพเจ้าอ่านองค์ความรู้ของครูโจทั้งหมด ตอบได้คำเดียวว่า "มั่วสุโค้ย"
ตบท้ายด้วยคำแปลท่านพุทธทาสที่ครูโจนำมาอ้าง เห็นจะๆ ท่านพุทธทาสแปล "ปชานาติ" ตรงกันกับชาวโลกว่า "รู้ทั่วถึง" หนำซ้ำในคำแปลคำแรกยังออกสำเนียงแปล วตฺตมานา ชัดเจนว่า "ย่อม"
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น